3. กราฟออยเลอร์
ออยเลอร์ได้ให้ทฤษฎีที่เกี่ยวกับปัญหานี้ไว้ดังนี้
·
เครือข่าย ที่แสดงเป็นกราฟจะประกอบด้วยจุดเชื่อมโยง (Vertices) และเส้นเชื่อมโยงระหว่างจุด เรียกว่า arcs
·
จุด ที่มีจำนวนเส้นที่เชื่อมออกไปยังจุดอื่นเป็นจำนวนคี่ เรียกว่า odd และถ้าจุดนั้นมีเส้นเชื่อมออกไปยังจุดอื่นเป็นจำนวนคู่ จะเรียกว่า even
·
เส้นทางออยเลอร์ คือเส้นทางที่ลากผ่านเส้นต่าง ๆ ในเครือข่าย
โดยแต่ละเส้นลากผ่านได้เพียงครั้งเดียว
·
ทฤษฎีของออยเลอร์ กล่าวว่า ถ้าหากว่าเครือข่ายใดมีจุดที่เป็น odd
มากกว่าสองขึ้นไป จะไม่มีทางสร้างเส้นทางออยเลอร์ได้
ปัญหาสะพานเคอนิกส์เบิร์ก มีอยู่ว่า ณ
เมืองเคอนิกส์เบิร์กมีเกาะกลางแม่น้ำพรีเกล (Pregel)
จำนวน 2 เกาะ
และมีสะพานที่เชื่อมระหว่างเกาะและเมืองดังรูปต่อไปนี้
จากกราฟ
สามารถแปลงได้เป็นปัญหาการลากผ่านเส้นเชื่อมของกราฟดังรูปข้างต้นจนครบทุกเส้นโดยไม่ต้องยกปากกาและผ่านเส้นแต่ละเส้นเพียงครั้งเดียว
โดยที่จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดเป็นจุดเดียวกัน
ตัวอย่าง
กราฟต่อไปนี้เป็นกราฟออยเลอร์
ปัญหาหนี่งที่ดูคล้ายกับปัญหาวงจรออยเลอร์
คือปัญหาการหาวิถีในกราฟที่ไม่ใช้จุดยอดซ้ำกันยกเว้นจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดต้องเป็นจุดเดียวกัน
ซึ่งก็คือ วัฎจักรและวัฎจักรนี้ผ่านครบทุกจุดยอดในกราฟนี้ จะเรียกวัฎจักรนี้ว่า
วัฎจักรแฮมิลตัน
ถ้าG มีวัฎจักรแฮมิลตัน
จะเรียก G ว่าเป็นกราฟแฮมิลตัน(Hamiltonian graph)
ปัญหาสะพานเคอนิกส์เบิร์ก มีอยู่ว่า ณ
เมืองเคอนิกส์เบิร์กมีเกาะกลางแม่น้ำพรีเกล (Pregel)
จำนวน 2 เกาะ
และมีสะพานที่เชื่อมระหว่างเกาะและเมืองดังรูปต่อไปนี้
จากกราฟ
สามารถแปลงได้เป็นปัญหาการลากผ่านเส้นเชื่อมของกราฟดังรูปข้างต้นจนครบทุกเส้นโดยไม่ต้องยกปากกาและผ่านเส้นแต่ละเส้นเพียงครั้งเดียว
โดยที่จุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดเป็นจุดเดียวกัน
ตัวอย่าง
กราฟต่อไปนี้เป็นกราฟออยเลอร์
ปัญหาหนี่งที่ดูคล้ายกับปัญหาวงจรออยเลอร์
คือปัญหาการหาวิถีในกราฟที่ไม่ใช้จุดยอดซ้ำกันยกเว้นจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดต้องเป็นจุดเดียวกัน
ซึ่งก็คือ วัฎจักรและวัฎจักรนี้ผ่านครบทุกจุดยอดในกราฟนี้ จะเรียกวัฎจักรนี้ว่า
วัฎจักรแฮมิลตัน
ถ้าG มีวัฎจักรแฮมิลตัน
จะเรียก G ว่าเป็นกราฟแฮมิลตัน(Hamiltonian graph)
ปัญหาหนี่งที่ดูคล้ายกับปัญหาวงจรออยเลอร์
คือปัญหาการหาวิถีในกราฟที่ไม่ใช้จุดยอดซ้ำกันยกเว้นจุดเริ่มต้นและจุดสิ้นสุดต้องเป็นจุดเดียวกัน
ซึ่งก็คือ วัฎจักรและวัฎจักรนี้ผ่านครบทุกจุดยอดในกราฟนี้ จะเรียกวัฎจักรนี้ว่า
วัฎจักรแฮมิลตัน
ถ้าG มีวัฎจักรแฮมิลตัน
จะเรียก G ว่าเป็นกราฟแฮมิลตัน(Hamiltonian graph)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น